Past of
Speech :
ส่วนต่าง ๆ ของคำ
ชนิดของคำในภาษาอังกฤษแบ่งตามหลักไวยากรณ์มี
8 ชนิดได้แก่
1.
คำนาม (Noun)
เป็นชื่อบุคคล สิ่งของ หรือ สถานที่ เช่น John (บุคคล) book (สิ่งของ) New York (สถานที่)
2. สรรพนาม (Pronoun) เป็นคำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องพูดซ้ำบ่อย ๆ ให้เสียใจความ เช่น Dang come here. He is learning. แดงได้มาที่มี เขากำลังเรียนภาษาอังกฤษอยู่ He เป็นสรรพนาม และนอกจาก he แล้วมี I, you, she, it, we, they ซึ่งล้วนแต่เป็นสรรพนามทั้งสิ้น
3. คุณศัพท์ (Adjective) คุณศัพท์เป็นคำประกอบคำนาม เพื่อทำให้ได้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น He has a yellow rose. เขามีดอกกุหลาบสีเหลือง 1 ดอก yellow เป็นคำคุณศัพท์ขยายคำนาม rose เพื่อทำให้ได้ใจความเด่นชัดเจนยิ่งขึ้น คำที่ใช้ประกอบคำนามต้องเป็นคุณศัพท์เสมอไป คำคุณศัพท์ต้องอยู่หน้าคำนามเช่น good boy ไม่ใช่ boy good โดยที่ good เป็นคุณศัพท์ boy เป็นคำนาม
4. กริยา (Verb) กริยาเป็นการบอกถึงการกระทำ หรือการเคลื่อนไหวของคำนามหรือสรรพนามที่กล่าวถึง คำกริยาบอกถึงการกระทำ คำสั่ง หรือคำถาม เช่น That cat jumps. แมวตัวนั้นกระโดด (การกระทำ) jump now. จงกระโดดเดี๋ยวนี้ (คำสั่ง) Does that cat jump? แมวตัวนั้นกระโดดหรือ? (คำถาม)
5. บุรพบท (Preposition) คำบุรพบทบอกถึงความเกี่ยวพันระหว่างคำนามกับคำนาม หรือคำนามกับกริยา เช่น a cat on the wall. แมว 1 ตัวบนกำแพง on เป็นบุรพบท ถึงความเกี่ยวพันระหว่างคำนาม cat กับคำนาม wall หรือ He stands under the tree. เขายืนอยู่ใต้ต้นไม้ under เป็นบุรพบท บอกถึงความเกี่ยวพันระหว่างกริยา stands กับคำนาม tree
6. กริยาวิเศษณ์ (Adverb) โดยปกติกริยาวิเศษณ์มีหน้าที่ขยายกริยาเช่นเดียวกับคำคุณศัพท์ขยายคำนามที่ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น แต่กริยาวิเศษณ์มิได้ขยายแต่เพียงกริยาเท่านั้นยังขยายคุณศัพท์บุรพบท และคำสันธานได้ด้วย เช่น He walks slowly. slowly เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายกริยา walks หรือ He can sing only in his room. เขาร้องเพลงได้แต่เพียงในห้องของเขาเท่านั้น only เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายบุรพบท in หรือ He will go into the dinning room only when he is hungry. เขาจะเข้าไปในห้องรับประทานอาหารก็แต่เพียงเมื่อเขาหิวเท่านั้น only เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายสันธาน when
2. สรรพนาม (Pronoun) เป็นคำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องพูดซ้ำบ่อย ๆ ให้เสียใจความ เช่น Dang come here. He is learning. แดงได้มาที่มี เขากำลังเรียนภาษาอังกฤษอยู่ He เป็นสรรพนาม และนอกจาก he แล้วมี I, you, she, it, we, they ซึ่งล้วนแต่เป็นสรรพนามทั้งสิ้น
3. คุณศัพท์ (Adjective) คุณศัพท์เป็นคำประกอบคำนาม เพื่อทำให้ได้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น He has a yellow rose. เขามีดอกกุหลาบสีเหลือง 1 ดอก yellow เป็นคำคุณศัพท์ขยายคำนาม rose เพื่อทำให้ได้ใจความเด่นชัดเจนยิ่งขึ้น คำที่ใช้ประกอบคำนามต้องเป็นคุณศัพท์เสมอไป คำคุณศัพท์ต้องอยู่หน้าคำนามเช่น good boy ไม่ใช่ boy good โดยที่ good เป็นคุณศัพท์ boy เป็นคำนาม
4. กริยา (Verb) กริยาเป็นการบอกถึงการกระทำ หรือการเคลื่อนไหวของคำนามหรือสรรพนามที่กล่าวถึง คำกริยาบอกถึงการกระทำ คำสั่ง หรือคำถาม เช่น That cat jumps. แมวตัวนั้นกระโดด (การกระทำ) jump now. จงกระโดดเดี๋ยวนี้ (คำสั่ง) Does that cat jump? แมวตัวนั้นกระโดดหรือ? (คำถาม)
5. บุรพบท (Preposition) คำบุรพบทบอกถึงความเกี่ยวพันระหว่างคำนามกับคำนาม หรือคำนามกับกริยา เช่น a cat on the wall. แมว 1 ตัวบนกำแพง on เป็นบุรพบท ถึงความเกี่ยวพันระหว่างคำนาม cat กับคำนาม wall หรือ He stands under the tree. เขายืนอยู่ใต้ต้นไม้ under เป็นบุรพบท บอกถึงความเกี่ยวพันระหว่างกริยา stands กับคำนาม tree
6. กริยาวิเศษณ์ (Adverb) โดยปกติกริยาวิเศษณ์มีหน้าที่ขยายกริยาเช่นเดียวกับคำคุณศัพท์ขยายคำนามที่ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น แต่กริยาวิเศษณ์มิได้ขยายแต่เพียงกริยาเท่านั้นยังขยายคุณศัพท์บุรพบท และคำสันธานได้ด้วย เช่น He walks slowly. slowly เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายกริยา walks หรือ He can sing only in his room. เขาร้องเพลงได้แต่เพียงในห้องของเขาเท่านั้น only เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายบุรพบท in หรือ He will go into the dinning room only when he is hungry. เขาจะเข้าไปในห้องรับประทานอาหารก็แต่เพียงเมื่อเขาหิวเท่านั้น only เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายสันธาน when
7. คำสันธาน (Conjunction)
คำสันธานมีหน้าที่เชื่อมประโยคต่อประโยคหรือคำต่อคำให้ได้ใจความติดต่อกัน
เช่น He came here, when I was sleeping. เขาได้มาที่นี่เมื่อฉันกำลังนอนอยู่
when = เมื่อ (เชื่อมประโยคต่อประโยค)
He and I are friends. เขากับผมเป็นเพื่อนกัน and = และ (เชื่อมสรรพนามกับสรรพนาม)
8. คำอุทาน (Interjection) คำอุทานเป็นคำเปล่งเสียงออกมาลอย ๆ เพื่อแสดงความรู้สึกดีใจ เสียใจ ตกใจ ประหลาดใจ คำอุทานไม่มีความเกี่ยวพันกับคำใดในประโยค เช่น Oh! Ah! Alas! Hullo! คำเหล่านี้ล้วนเป็นคำอุทานทั้งสิ้น เมื่อเขียนคำอุทานแล้วต้องใส่เครื่องหมายตกใจ ! ด้วยทุกครั้ง
ตัวอย่าง
He is a good boy, because he goes to school every day.
2 4 3 1 7 2 4 5 1 3 1
เขาเป็นเด็กดีเพราะว่าเขาไปโรงเรียนทุก ๆ วัน
8. คำอุทาน (Interjection) คำอุทานเป็นคำเปล่งเสียงออกมาลอย ๆ เพื่อแสดงความรู้สึกดีใจ เสียใจ ตกใจ ประหลาดใจ คำอุทานไม่มีความเกี่ยวพันกับคำใดในประโยค เช่น Oh! Ah! Alas! Hullo! คำเหล่านี้ล้วนเป็นคำอุทานทั้งสิ้น เมื่อเขียนคำอุทานแล้วต้องใส่เครื่องหมายตกใจ ! ด้วยทุกครั้ง
ตัวอย่าง
He is a good boy, because he goes to school every day.
2 4 3 1 7 2 4 5 1 3 1
เขาเป็นเด็กดีเพราะว่าเขาไปโรงเรียนทุก ๆ วัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น